วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2551



โมนาลิซา

โมนาลิซา(Mona Lisa) หรือ ลาโชกงด์ (La Gioconda, La Joconde) คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เซนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ระหว่าง พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) ถึงปี พ.ศ. 2050 (ค.ศ. 1507)เป็นภาพที่ทั่วโลกรู้จักกันดีภาพหนึ่ง ในฐานะสุภาพสตรีที่มี รอยยิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์(Musée du Louvre) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

คำว่า'โมนาลิซา" นั้น ได้ถูกตั้งขึ้นโดย
จอร์โจ วาซารี (Giorgio Vasari) ศิลปิน และนักชีวประวัติชาวอิตาลี หลังจากดา วินชีได้เสียชีวิตไป 31 ปี ในหนังสือที่เขาตีพิมพ์นั้นได้บอกไว้ว่าผู้ที่นั่งอยู่ในรูปนั้นคือ ลีซา เกอราร์ดีนี ภรรยาของขุนนางนักธุรกิจผู้มั่งคั่ง ชาวเมืองฟลอเรนซ์นามว่า ฟรานเชสโก เดล โจกอนโด (Francesco del Giocondo)
คำว่า โมนา" (Mona) ใน
ภาษาอิตาลีนั้นก็คือคำว่า มาดอนนา(madonna) คุณผู้หญิง(my lady) หรือ มาดาม(Madam) ในภาษาอังกฤษ ดังนั้นความหมายของชื่อนั้นก็คือ "มาดาม ลิซา" แต่ในปัจจุบัน บางครั้งก็จะใช้คำว่า มอนนา ลิซา(Monna Lisa)

ภาพโมนาลิซ่านี้ถูกวาดโดย ดา วินชี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2046 ถึง พ.ศ. 2050 ใช้เวลานานถึง 4 ปีในการวาด
ในปี ค.ศ. 1516 (
พ.ศ. 2059) ดา วินชีได้นำภาพจากอิตาลีไปที่ฝรั่งเศส ด้วยพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 ที่ทรงปรารถนาที่จะให้ศิลปินทั้งหลายมารวมตัวทำงานกันที่ Clos Lucé ใกล้กับปราสาทในเมืองอัมบัวส์ และยังทรงให้ ดา วินชี วาดพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์อีกด้วย หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงซื้อภาพโมนาลิซ่า ในราคา 4,000 เอกือ
ในปี ค.ศ. 1519 (
พ.ศ. 2062) ดา วินชี ได้เสียชีวิตที่เมืองอัมบัวส์ ประเทศฝรั่งเศส รวมอายุได้ 63 ปี

ในช่วงแรก ภาพโมนาลิซ่าถูกนำไปเก็บไว้ที่
พระราชวังฟงเตนโบล ต่อมาก็ในพระราชวังแวร์ซาย หลังจากสิ้นสุดการปฏิวัติฝรั่งเศส ก็ถูกไปนำเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ในห้องสรงของพระเจ้านโปเลียนที่ 1 ในพระราชวังตุยเลอรี แล้วในที่สุดก็ได้กลับมาที่พิพิธภัณฑ์เหมือนเดิมในช่วงสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่างปี พ.ศ. 2413 - 2414 ภาพได้ถูกนำออกจากพิพิธภัณฑ์ ไปซ่อนไว้ในที่ลับในประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) ภาพโมนาลิซ่าถูกโจรกรรมออกจากพิพิธภัณฑ์ ซึ่งกว่าจะค้นพบเธอก็ได้ใช้เวลาไปถึง 2 ปี ซึ่งได้พบในเมืองฟรอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ปัจจุบันเธอถูกดูแลรักษาอย่างดี ในตู้กระจกปรับอากาศกันกระสุน พิพิธภัณฑ์ลูฟร์

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551


แต่ตอนเด็กเล็กอยู่ดูพ่ออุ้ม
เหงื่อพ่อชุ่ม รดอก ตกให้เห็น
ทำงานหนักพักน้อยนิดติดจนเย็น
เพื่อพักตร์เพ็ญเห็นลูกน้อยค่อยสราญ
พ่อคือหลักปักค้ำอยู่ชูบ้านไว้
นำทางให้ครอบครัวมั่นไม่สั่นฐาน
อบรมบุตรดุจต้นแบบแทบเปรียบปาน
ทางกล้าหาญล้วนพ่อช่วยด้วยนำเรา
พ่อคือเทพบุตรสุดเนรมิต
ลูกหลงผิดคอยยื้อยุดฉุดความเขลา
แม้พลาดผิดคอยติเตือนเพื่อบรรเทา
ลูกยังเยาว์พ่อช่วยคิดติดตามกัน
เนื่องในวันบรรจบครบวัน พ่อ
ลูกเฝ้ารอช่วยพ่อยิ้มพิมพ์ใจฝัน
ขอสรรเสริญเยินยอคุณหนุนอนันต์
ลูกมีวันนี้ได้หมายแทนคุณ

วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Le Mont-Saint-Michel

Le Mont-Saint-Michel[1] est une commune française située dans le département de la Manche et la région Basse-Normandie qui tire son nom d’un îlot rocheux dédié à saint Michel où s’élève aujourd’hui l’abbaye du mont Saint-Michel.
L’architecture du Mont-Saint-Michel et sa baie en font le site touristique le plus fréquenté de
Normandie et le deuxième de France (après l'Île-de-France) avec plus de 3 000 000 visiteurs chaque année[2] (3 250 000 en 2006 [3]). Une statue de saint Michel placée au sommet de l’église abbatiale culmine à 170 mètres au-dessus du rivage. Classé monument historique en 1874, le site figure depuis 1979 sur la liste du patrimoine mondial de l’UNESCO.
Ses
habitants sont appelés les Montois.

วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551


ทัชมาฮาล
ทัชมาฮาล เป็นสุสานฝังศพตั้งอยู่ที่ตอนโค้งของแม่น้ำยมนาฝั่งขวา เมืองอัคระ ประเทศอินเดีย ชาห์ชะฮานสร้างเป็นศรีสง่าแก่บริเวณพระราชวัง สำหรับเก็บศพมุมทัชมาฮาลพระมเหสี สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1630-1648 ด้วยหินอ่อนสีขาวบริสุทธิ์ ศิลาแลง ประดับลวดลายเครื่องเพชร พลอยสีฟ้า หินสีฟ้า โมรา หินทองแดงหินลาย พลอยสีเขียว นอกจากนี้ยังมีเครื่องประดับที่ได้มาจากนานาประเทศที่เป็นมิตรซึ่งได้รับคำรับรองจากสถาปนิกทั่วโลกว่าสร้างขึ้นโดยถูกสัดส่วนและวิจิตรงดงามที่สุด กว้างยาวด้านละ 39 เมตร ตรงกลางมีโดมสูง 60 เมตร มีผู้ร่วมสร้างเป็นผู้ออกแบบ ช่างเขียนลวดลาย ช่างอิฐ ช่างปูน ช่างประดับลวดลายด้วยกระเบื้อง ช่างแกะสลัก ช่างตกแต่งภายใน รวม 20,000 คน การก่อสร้างกินเวลานานถึง 22 ปี ภายหลังที่สร้างทัชมาฮาลชาห์ชะฮานใฝ่ฝันที่จะสร้างที่ฝังศพตัวเองที่ฝั่งแม่น้ำตรงกันข้ามจะเป็นหินอ่อนสีดำล้วนๆแต่ลูกชายเกรงเงินจะหมดจะไม่มีใช้ เมื่อขึ้นครองราชสมบัติจึงจับพ่อขังอยู่ได้ 7 ปีก็สิ้นพระชนม์ ประมาณปี พ.ศ.2209(ค.ศ.1666) แล้วเอาศพไปฝังข้างศพแม่ ส่วนนายช่างผู้ออกแบบถูกสั่งให้ประหาร ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้มีโอกาสออกแบบสิ่งก่อสร้างใด ๆ ที่สวยกว่าได้

วันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2551

วิทยาการเฮียโรกลิฟ

ภาษาเขียนของชาวอียิปต์โบราณนั้นเรียกว่าอักษร เฮียโรกลิฟ อันเป็นคำภาษากรีกที่แปลว่า "สัญลักษณ์อันศักดิ์สิทธิ์" โดยชาวไอยคุปต์ถือว่าการเขียนเปรียบเสมือนพิธีกรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีเทพเจ้า ทอธ ผู้มีศีรษะเป็นนกช้อนหอย และบางครั้งก็ปรากฎเป็นลิงบาบูนเป็นตัวแทน ทอธคือเทพเจ้าแห่งการเขียนและสรรพความรู้ ทั้งยังเป็นเทพแห่งดวงจันทร์ซึ่งคอยตรวจนับการเคลื่อนที่ของเวลา หน้าที่สารพันเช่นนี้ทำให้ทอธได้รับการบูชาเป็นฐานะเทพเจ้าหลักของชาวอียิปต์โบราณมาตลอดช่วงพงศาวดารสามพันปี

อันความรู้เรื่องกำเนิดการเขียนในอียิปต์โบราณของเรานั้นวางอยู่บนหลักฐานที่หาได้ยากยิ่ง เป็นไปได้ว่าการประดิษฐ์การเขียนอาจมีขึ้นก่อนที่อียิปต์จะรวมเป็นอาณาจักรเดียวเสียด้วยซ้ำ โดยในเบื้องแรกพวกเขาคงใช้กิ่งไม้มาบากทำรอยขีดง่ายๆ สำหรับจดบันทึกสินค้าและรายชื่อเจ้าหน้าที่แต่ละคน ก่อนจะค้นพบว่าการเขียนคือเครื่องมือแห่งการใช้อำนาจ และเป็นความรู้สำคัญยิ่งยวดในการปกครองและการสร้างรัฐอียิปต์ จานสีของนาร์เมอร์เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ยืนยันว่ามีการใช้อักษรเฮียโรกลิฟในการระบุพระนามของกษัตริย์มาตั้งแต่สมัยแรกๆ ซึ่งอาจนับได้ว่าเป็นวิธีการยืนยันพระราชอำนาจและความศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ การเขียนยังเป็นกุญแจสำคัญที่ช่วยสร้างศาสนาประจำรัฐ รวมถึง "จารึกพีระมิด" ซึ่งก็คือคาถาอาคมที่ชาวไอยคุปต์หวังจะเขียนไว้บนกำแพงสุสานเพื่อช่วยนำทางตนสู่ยมโลก

ถึงจะเป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ทว่าชาวอียิปต์ก็ยังทิ้งข้อเขียนจำนวนมหาศาลเอาไว้ มีทั้งเรื่องประวัติศาสตร์ศาสนา เอกสารทางการค้า และเรื่องเล่า แต่พอยุคการปกครองของฟาโรห์ปิดฉากลงเมื่อราว 2000 ปีที่แล้ว ก็ไม่มีผู้สืบสานการใช้อักษรฮีโรกลิฟอีก ผู้มาเยือนอียิปต์ต่างตะลึงกับร่องรอยของอารยธรรมที่สาบสูญแต่กลับสืบค้นเรื่องราวของผู้ที่สร้างมันขึ้นมาได้น้อยมากเพราะว่าไม่สามารถอ่านอักขระโบราณนี้ ผู้ใคร่จะรู้เรื่องราวของชาวไอยคุปต์อย่างทะลุปรุโปร่งต้องรอจนกระทั่งปี 1822 เมื่อนักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ ฌอง ฟรองชัว ชอวโปลิยง ไขความลับของเฮียโรกลิฟได้สำเร็จ การค้นพบของชอมโปลิยงกลายเป็นกุญแจสำคัญที่ช้วยให้ปราชญ์สมัยหลังเข้าถึงเรื่องราวของชาวอียิปต์โบราณ และเปิดโอกาสให้เรื่องราวตลอดช่วง 3000 ปีที่อียิปต์เฟื่องฟูปรากฎออกมาสู่ความรับรู้ของชนรุ่นหลังอีกครั้ง

อียิปต์ประตูสู่อารยธรรมโบราณ

ดินแดนอียิปต์เป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยความลึกลับในแทบทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นทางวิทยาศาสตร์ หรือศิลปศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอดีต โลกปัจจุบัน หรือโลกอนาคต อันรวมไปถึงทัศนะที่มีต่อโลกนี้ และโลกหน้า อียิปต์เป็นดินแดนซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากดินแดนอื่นใดทั้งหมด ทำให้ยากต่อการทำความเข้าใจ แต่ก็มีเสน่ห์เย้ายวนอย่างน่าพิศวง มีบางสิ่งที่ชวนให้กระหายใคร่รู้อยู่มากมาย อียิปต์เป็นประเทศที่มีความบริบูรณ์ในตัวเองมากที่สุดประเทศหนึ่ง ในบรรดาประเทศทั้งหมดในยุคโบราณ มีวิถีชีวิตตามแบบฉบับของตนเอง มีศาสนาของตนเอง เป็นจุดแรกๆที่สำคัญในการเกิดอารยธรรมของโลก

เมื่อกรีกโบราณ ค้นพบและบันทึกเรื่องราวของอียิปต์ในช่วงประมาณ ศตวรรษแรก ของพระพุทธศาสนา ( 500 ปีก่อนคริสต์กาล ) อารยธรรมของอียิปต์ก็ได้มีอายุยืนยาวมาถึงสามพันปีแล้ว นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกคนแรก ที่มีผลงานเกี่ยวกับอียิปต์หลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน คือ เฮโรโดตุส เขาเดินทางมายังอียิปต์เมื่อปี พ.ศ.93ได้พบว่าผู่ที่สามารถอ่านอักษรภาพเฮียโรกลิฟิก แบบโบราณซึ่งถูกสลักหรือเขียนไว้ในอนุสาวรีย์ตั้งแต่ยุคของ ฟาโรห์เมเนส ปฐมกษัตริย์ผู้รวบรวมดินแดนทั้งสองเจ้าด้วยกันในปีที่ 2657 ก่อนพุทธศักราช นั้นมีเพียงพวกนักบวช ถึงกระนั้น คำนานและเรื่องปุราณะ ( ความเชื่อปรัมปรา ) ยังคงมีผู้เล่าสืบสานต่อๆกันมาเกือบตลอดเวลาสามพันปีแทบจะไม่ผิดเพี้ยนไปจากบันทึกที่เป็นลายลักอักษร

หลังจากสมัยของเฮโรโดตุส เรื่องราวของอียิปต์โบราณก็ถูกบันทึกอย่างไม่ค่อยตรงกับความจริงด้วยฝีมือของผู้พิชิตชาวกรีก อเลกษันเดอร์ มหาราช และผู้รับมอบให้ปกครองแทนคือนายพล ปโตมี ซึ่งต่อมาหลังจาก อเลกษันเดอร์ได้จากโลกนี้ไป นายทหารผู้นี้ก็ได้ตั้งตนเป็นใหญ่ ราชวงศ์ ปโตเลมี ขึ้นปกครองอียิปต์ และหนึ่งในผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในราชวงศ์ที่มาจากรีกนี้คือ เคลโอปาตรา ราชีนีผู้เลอโฉม ผู้มีนามก้องประวัติศาสตร์โลกในยุคสมัยพระนางเคลโอปาตรา นี่เองที่อียิปต์ก็ถูกมหาอำนาจโลกผู้มาใหม่บุกเข้ายึดครอง โดยฝีมือของ จักรพรรดิ ยูลีอุส ซีซาร์ ผู้ยิ่งใหญ่ที่มีชื่อโด่งดังในจักรวรรดิโรมัน

ต่อมายังได้ตกเป็นเมืองขึ้นของผู้รุกรานเผ่าอาหรับ ระหว่าง พ.ศ. 1182-1589 หลังจากการยึดครองโดยผู้ปกำครองชาวอาหรับทำให้เรื่องอียิปต์ยุคโบราณแทบจะสูญหายไปจากโลกนี้ การค้นพบอีกครั้งเกิดขึ้นเมื่อประมาณร้อยห้าสิบปีก่อน เมื่อมีการตีความ อักษรภาพเฮียโรกลิฟิก การแปลภาษาโบราณ การขุดและอนุรักษ์หลุมฝังศพ วิหาร ตลอดจน ปิรามิด

โดยความเชื่อทางศาสนา รูปแบบอารยธรรม และเรื่องราวต่างๆที่ปรากฏในวรรณกรรม มักจะได้รับอิทธิพลจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของแต่ละภูมิภาค ดังนั้น ทุ่งดินเหนียวที่เหยียดยาวออกไปจรดเส้นขอบฟ้าทุกทิศทุกทางในเมโสโปตาเมีย ทำให้อาณาจักรบาบิโลเนีย มีความเชื่ออันน่าหดหู่เกี่ยวกับเรื่องของเความสิ้นหวัง ความงดงามที่น่าทึ่งของหุบผา และเวิ้งอ่าว ในคาบสมุทรกรีก เป็นแหล่งกำเนิดเทพปกรณัมอมตะและตำนานของสถานที่สำคัญแต่ละแห่งด้วยเหตุเดียวกันนี้จากสภาพอากาศของฤดูหนาวอันทารุณก็เป็นที่มาของความเชื่ออันแรงกล้าของบรรพบุรุษชาวยุโรปเหนือ ที่กำหนดมาให้เป็นวีรบุรุษไม่อาจหนีได้แต่สำหรับผู้ที่ไม่เคยเห็นอียิปต์ การจินตนาการดินแดนนี้จาก เรื่องปุราณพ ตำนาน เป็นเรื่องยากยิ่ง เฮกาแทอุสนักประวัติศาสตร์ผู้เฒ่าชาวกรีกเขียนไว้ว่า
อียิปต์ คือของขวัญจากแม่น้ำไนล์ ซึ่งอันที่จริงแล้ว แม่น้ำไนล์ที่กล่าวถึงก็คืออียิปต์นั้นเอง

เมื่อเลยขึ้นไปจากสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอันสมบูรณ์ทางเหนือ ซึ่งเป็นผืนดินที่ตั้งอยู่ในที่ต่ำเขียวขจีกว้างประมาณ 240 กิโลเมตรแล้ว อียิปต์คือ แนวหุบเขาแคบๆของแม่น้ำไนล์ เป็นแนวแบ่งเขตทะเลทรายที่ทอดตัวยาวหลายร้อยกิโลเมตร


วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2551


เพรเซนส์ ออฟ เดอะ พาสท์ คอลเลคชั่นทรงออกแบบ ในปารีส แฟชั่น วีค

วงการแฟชั่นระดับโลกบันทึกแล้วว่า พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ ทรงเป็นนักออกแบบพระชนมายุน้อยที่สุด ที่ได้ทรงนำผลงานออกแสดงโชว์ใน “ปารีส แฟชั่น วีก” เวทีแห่งความใฝ่ฝันของนักออกแบบทั่วโลก ซึ่งผู้มีโอกาสต้องผ่านความเห็นชอบและมาตรฐานของสมาพันธ์แฟชั่นของฝรั่งเศส

เมื่อพระองค์หญิงจากประเทศไทยทรงนำคอลเลกชัน “Presence of The Past” (เพรเซนส์ ออฟ เดอะ พาสท์) ร่วมแสดงเป็นโชว์เปิดงานปารีส แฟชั่น วีก ฤดูใบไม้ผลิ/ฤดูร้อน 2008 เมื่อค่ำวันเสาร์ที่ผ่านมา ณ โรงละครโอเปร่า การ์นิเยร์ กรุงปารีส ฝรั่งเศส จึงได้รับความสนใจจากแฟชั่นนิสต้าทั่วโลก จำนวนบัตรเข้าชมไม่เพียงพอ อีกทั้งสื่อจำนวนมากต่างแจ้งความประสงค์ขอประทานพระอนุญาตทูลสัมภาษณ์พร้อมฉายพระรูปทรงงาน

ก่อนถึงเวลาเปิดโชว์เพียงไม่กี่ชั่วโมง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า สิริวัณณวรีนารีรัตน์ ทรงพระกรุณาประทานสัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนต่างประเทศ อาทิ สถานีโทรทัศน์ France 3 รวมทั้งประทานสัมภาษณ์และฉายพระรูปการทรงงานเบื้องหลังแก่นิตยสารชื่อดังกว่า 20 ฉบับ อาทิ สำนักข่าว GAMMA, Fashion Guide TV จากเยอรมนี, สถานี RTL จากเยอรมนี, สถานี VTM จากเบลเยียม, Hair Magazine จากอังกฤษ และ AFP จากฝรั่งเศส ฯลฯ และปิดท้ายกับนักข่าวชื่อดังของฝรั่งเศส มาดาม วิเวียน บลาสเซล จากสถานีโทรทัศน์ช่อง TF1 ซึ่งกราบทูลถามถึงเหตุทรงตัดสินพระทัยทรงแสดงแฟชั่นโชว์ คอลเลกชันทรงออกแบบที่ปารีส แฟชั่น วีก

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริ วัณณวรีนารีรัตน์ รับสั่งว่า “ปารีสเป็นเมืองหลวงของแฟชั่น และเมื่อใครเอ่ยถึงแฟชั่นก็ต้องนึกถึงปารีส อีกทั้งปารีส แฟชั่น วีก เปรียบได้กับงานแฟชั่น วีก ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก และที่สำคัญข้าพเจ้าชื่นชอบกรุงปารีสมาก”

การรอคอยของสื่อมวลชนชั้นนำกว่า 200 คนจากทั่วโลกอาทิ VOGUE, Har per’s Bazaar, ELLE, L’Officiel, Marie Claire, WWD, Vanity Fair, Glamour, Le Monde, Instyle, Le Figaro ฯลฯ สิ้นสุดลงเมื่อผลงานทรงออกแบบจำนวน 39 ชุด แนวเซมิ กูตูร์ ปรากฏสู่สายตา วงการแฟชั่นโลกได้รับรู้การผสมผสานระหว่างรายละเอียดของศิลปะไทยโบราณ ที่กลมกลืนกับความทันสมัยของแฟชั่นตะวันตกอย่างลงตัว ด้วยพระอัจฉริยภาพ ซึ่งทรงใช้เวลาหนึ่งปีในการทรงศึกษา ค้นคว้า และออกแบบ กระทั่งเป็นผลงานทรงภาคภูมิ

เรียกเสียงปรบมือจากสื่อมวลชนและผู้เข้าชมซึ่งล้วนรวมทั้งบุคคลสำคัญและมีชื่อเสียง เช่น มาดาม คริสเตียน ลาการ์ รมว.กระทรวงการคลังและการจ้างงานฝรั่งเศส สุภาพสตรีทรงอิทธิพลอันดับที่ 3 ของยุโรป และอันดับที่ 12 ของโลก, เคนโซ่ ทานาดา ผู้ก่อตั้งห้องเสื้อ KENZO เบอร์นัวท์ หลุยส์ วิตตอง ทายาทรุ่นที่ 6 ของตระกูลหลุยส์ วิตตอง, นายเวดรีน อดีต รมว.กระทรวงต่างประเทศฝรั่งเศส, นายฟรองซัวส์ เดอ ลาเอ ประธานเครือโรงแรมดอร์เชสเตอร์, โลรองค์ บิลลี่ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย, สเวน ฟิลิป โซเรนเซน เลขาธิการในพระองค์ของสมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน, คุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา, นิพนธ์ พร้อมพันธุ์, อนุทิน–สนองนุช ชาญวีรกุล, ม.ล.อาชว์ วรวรรณ, พัฒศรี บุนนาค ฯลฯ

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ ทรงพระดำเนินยังด้านหน้าแคตวอล์กในช่วงฟินาเล่ อันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของงานแฟชั่นโชว์ ทรงรับเสียงปรบมือถวาย และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเสด็จฯทอดพระเนตรโชว์ครั้งนี้พร้อมด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ พระราชทานช่อดอกไม้แสดงความยินดีในความสำเร็จแก่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ พร้อมทรงสวมกอดด้วยความปลื้มพระทัย
ท่ามกลางเสียงปรบมือที่ยาวนาน.




วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2551


Montagne Pelée
La montagne Pelée, volcan de l'île de la Martinique, doit son nom à l'aspect désolé de ses flancs couverts de cendres suite à une éruption qui eut lieu peu de temps avant l'arrivée des premiers colons vers 1635.
Dominant le nord de l'île de sa masse imposante qui culmine à 1 397 mètres, elle fait partie des neuf volcans actifs de l'arc des
petites Antilles.
Les activités
volcaniques et sismiques importantes des petites Antilles résultent de la subduction des plaques océaniques atlantique et pacifique qui enserrent la plaque caraïbe.
Le dynamisme volcanique péléen se caractérise par des éruptions rares mais violentes : l'
andésite contenue dans les profondeurs du volcan est une lave à forte teneur en silice, très visqueuse.
Cette lave, presque solide, forme un dôme en couvercle dans la bouche éruptive et lorsque la pression ne peut plus être contenue, l'éjection brutale des gaz détruit le couvercle et provoque des nuées ardentes : un nuage de gaz sous pression, de cendres brûlantes et de blocs de lave, déferlent sur les pentes du volcan.

วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551




Mont Blanc
Le mont Blanc (en italien monte Bianco), dans le massif du Mont-Blanc, entre le département de la Haute-Savoie (France) et la vallée d'Aoste (Italie), objet d'un litige entre les deux pays, est le point culminant de la chaîne des Alpes. Avec une altitude de 4 810,90 mètres[1], il est le plus haut sommet d'Europe occidentale et le cinquième sur le plan continental en considérant les montagnes du Caucase.
Le sommet a depuis plusieurs siècles représenté un objectif pour toutes sortes d'aventuriers, depuis par sa première ascension en
1786. De nombreux itinéraires fréquentés permettent aujourd'hui de le gravir avec une préparation sérieuse. Il est un objet de fascination dans de nombreuses œuvres culturelles.

Protection du mont Blanc

Le site du massif du Mont-Blanc fait l'objet d'un projet de classement au patrimoine mondial de l'Unesco en tant que « site exceptionnel unique au monde » et en tant que haut lieu culturel, lieu de naissance et symbole de l'alpinisme[29],[30]. Ce projet n'est pas partagé par tous et devrait faire l'objet de demandes conjointes des trois gouvernements français, italien et suisse[31],[32].
Mais le mont Blanc est l'un des sites touristiques les plus visités de la planète et de ce fait il est en danger. L'association Pro-mont Blanc a édité en
2002 le livre Le versant noir du mont Blanc qui expose les problèmes actuels et futurs qui se posent pour conserver le site en l'état[33].
Le seuil de surfréquentation du mont Blanc est atteint, avec 300 à 400 départs par jour en été
[10]. Lors du sommet du Conseil national de la montagne qui s'est tenu à Sallanches, fin août 2006, il a été estimé que 25 000 à 30 000 personnes se sont lancées en 2005 à la conquête du mont Blanc. Avec l'ouverture des nouveaux marchés (Russie, Chine, Inde), ce sont 50 000 à 100 000 personnes qui pourraient demain tenter l'aventure, le chiffre de 200 000 ayant même été avancé[34]. Ces perspectives sont cauchemardesques pour les défenseurs du site et pour certains responsables politiques de la vallée, comme le maire de Saint-Gervais-les-Bains, commune sur laquelle se situe le mont Blanc. Lors de l'été 2003, avec la sécheresse et une fréquentation accrue du site, plusieurs dizaines de tonnes de détritus et déchets divers ont été laissées par les alpinistes qui campaient dans le secteur du refuge du Goûter.
Selon
Jean-Marc Peillex[34], le maire : « C'était plus des WC à ciel ouvert qu'un glacier. On est pourtant dans un site classé où, selon la loi de 1930, le camping est interdit. Et on laisse malgré tout des dizaines d'alpinistes s'installer et polluer notre réservoir d'eau de demain. »
Selon le gardien du refuge
[34] : « Ces gens qui dorment dans des tentes sont en majorité étrangers, ont peu de moyens et ne peuvent pas forcément se payer les 25 euros de la nuit en refuge. Alors ils campent parfois plusieurs jours en attendant un créneau météo favorable. Il y en a qui sont respectueux de la montagne, qui redescendent leurs déchets au refuge, viennent dans nos toilettes et d'autres qui abandonnent leurs poubelles sur ce camping improvisé. Quand on monte là-haut, on peut voir des traces d'urine partout dans la neige, des excréments... alors qu'on pense se trouver dans une montagne pure et préservée. »
Le maire de
Saint-Gervais-les-Bains propose la mise en place d'un permis d'ascension — comme cela se fait au Népal —, dont la délivrance serait liée au nombre de places disponibles dans les refuges du Goûter — qui va être agrandi avec la construction d'un nouveau bâtiment — et de la Tête rousse. Cependant certains alpinistes, dont certains très connus, sont contre l'idée de ce permis d'ascension, qui serait contraire à leur liberté. Selon le président des guides : « La montagne doit rester un espace de liberté ... Chacun doit pouvoir accéder aux sommets sans contrainte financière. De nombreux collègues ne seraient sans doute jamais devenus guides si une telle réglementation avait existé », et le célèbre alpiniste, Christophe Profit, demande même la suppression des refuges : « Car si les gens plantent leur tente là-haut, c'est parce qu'il y a un hébergement à proximité. Sans refuge, le problème serait réglé.

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2551

Cathédrale Notre-Dame d'Amiens


La cathédrale Notre-Dame d’Amiens est la plus vaste de France par ses volumes intérieurs (200 000 m3). Avec les cathédrales de Chartres et de Reims, elle est considérée comme l'archétype du style gothique classique, comprenant aussi des éléments des phases suivantes du style gothique, du gothique rayonnant (notamment le chevet) et du gothique flamboyant (notamment la grande rosace de la façade occidentale, la tour nord et les stalles). Sa longueur hors œuvre est de 145 mètres et sa hauteur sous voûte de 42,30 mètres (proche du maximum supportable pour cette architecture).
Monument Historique en France, depuis 1862, elle est inscrite depuis 1981 au patrimoine mondial de l'UNESCO[



Histoire de la cathédrale


La cathédrale actuelle occupe un emplacement où plusieurs sanctuaires se sont succédés dont on sait peu de choses. Le premier édifice date de la fin du IIIe siècle, à l'époque gallo-romaine, et aux cours des neuf siècles suivants plusieurs cathédrales furent édifiées. Plusieurs fois des incendies les réduisirent en cendres. Tel fut le cas en 850, lors d'une invasion normande, puis en 1019, puis encore en 1107. Après ce sinistre une nouvelle église, romane, fut édifiée dont nous ne possédons aucun document permettant de déterminer ce qu'elle était.
Le 17 décembre 1206, un croisé picard nommé Wallon de Sarton, chanoine de Picquigny, qui lors du pillage de Constantinople par les croisés en 1204, avait réussi à subtiliser la sainte relique du crâne de saint Jean-Baptiste, ramena celle-ci à Amiens où il fut reçu par l'évêque Richard de Gerberoy. Très rapidement la relique devint l'objet d'un important pèlerinage. De nombreux princes français et étrangers vinrent l'honorer. Mais la tête du saint attira surtout les gens atteints de surdité, de mutisme, de cécité et avant tous les gens atteints du mal saint-Jean, c'est-à-dire d'épilepsie. Cet afflux rendit fort vite la cathédrale romane trop petite.
En 1218, la foudre tomba sur la flèche de l'ancienne cathédrale, ce qui mit le feu aux charpentes. Le toit s'embrasa avec une rapidité stupéfiante et bientôt, ce fut l'édifice tout entier qui s'écroula dans les flammes. L'évêque Évrard de Fouilloy décida de reconstruire une nouvelle cathédrale, non seulement bien plus vaste et plus belle que la précédente, mais aussi inégalée parmi les autres sanctuaires de la chrétienté. Il fallait également que cette nouvelle cathédrale, par son programme iconographique soit un véritable livre de pierres, qui favoriserait l'enseignement de la religion auprès du peuple chrétien. On parlera plus tard de la Bible d'Amiens.
Et face à ce grand défi, comme architecte, il choisit Robert de Luzarches [2].

วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551

เฮฮาปาจิโกะ



แหล่มเลย 55555555






ห้องน้ำหรือสตูดิโอส่วนตัวก้อมะรู้อ่า


ไปดูงานที่ ม.รังสิต จ้า









วันอาทิตย์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2551


L’arc de triomphe de l’Étoile appelé partout dans le monde l'Arc de Triomphe, est situé à Paris, sur la place de l’Étoile, à l’extrémité ouest de l’avenue des Champs-Élysées, à 2,2 kilomètres de la place de la Concorde. Haut de 50 mètres et large de 45 mètres, il est géré par le Centre des monuments nationaux[1].
La place de l'Étoile forme un énorme
rond-point de douze avenues percées au XIXe siècle sous l’impulsion du baron Haussmann, alors préfet du département de la Seine. Ces avenues « rayonnent » en étoile autour de la place, notamment l’avenue de la Grande-Armée, l’avenue de Wagram et, bien sûr, l’avenue des Champs-Élysées. Des pavés de couleurs différentes dessinent sur le sol de la place deux étoiles dont les pointes arrivent pour l'une au milieu des avenues, pour l'autre entre les avenues.

Le musée du Louvre est le plus grand musée parisien par sa surface (210 000 m² dont 60 600 consacrés aux expositions)[2] et l'un des plus importants du monde. Situé au cœur de la ville de Paris, entre la rive droite de la Seine et la rue de Rivoli, dans le Ier arrondissement, le bâtiment est un ancien palais royal, le Palais du Louvre. La statue équestre de Louis XIV constitue le point de départ de l'axe historique, mais le palais n'est pas aligné sur cet axe. C'est l'un des plus anciens musées et le troisième plus grand au monde en terme de superficie[réf. nécessaire]. Le Louvre possède une longue histoire de conservation artistique et historique de la France, depuis les rois capétiens jusqu'à nos jours.
Musée universaliste, le Louvre couvre une chronologie et une aire géographique larges, depuis l'antiquité jusqu'à 1848, de l'Europe occidentale jusqu'à l'Iran, via la Grèce, l'Égypte et le Proche-Orient. A
Paris, la période postérieure à 1848 pour les arts européens est prise en charge par le musée d'Orsay et le Centre Pompidou, alors que les arts asiatiques sont exposés à Guimet. Les arts d'Afrique, d'Amérique et d'Océanie prennent quant à eux place au musée du quai Branly, mais une centaine de chefs d'oeuvres sont exposés au pavillon des sessions. Les œuvres sont de nature variée : peintures, sculptures, dessins, céramiques, objets archéologiques et objets d'art... Parmi les pièces les plus célèbres du musée se trouvent le Code d'Hammurabi, la Vénus de Milo, La Joconde de Léonard de Vinci, et La Liberté guidant le peuple d'Eugène Delacroix. Le Louvre est le musée le plus visité au monde, avec 8,3 millions de visiteurs en 2006[3]. Ce site est desservi par la station de métro : Palais Royal - Musée du Louvre.

วันเสาร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2551


Le château de Versailles fut la résidence des rois de France Louis XIV, Louis XV et Louis XVI. Résidence royale, ce monument compte parmi les plus remarquables de France et du monde tant par sa beauté que par les événements dont il fut le théâtre. Le roi et la cour y résident de façon permanente du 6 mai 1682 au 6 octobre 1789 à l'exception des quelques années de la Régence. Il est situé au sud-ouest de Paris, dans la ville de Versailles, France. Ce château est devenu un symbole de l'apogée de la royauté française. La grandeur des lieux se voulait à l'image de celle des rois successifs.
Le château, à proprement parler, est constitué d'une succession d'éléments ayant une harmonie architecturale. Il s'étale sur 67 000 m² et comprend plus de 2 000 pièces.
Le
parc du château de Versailles s'étend sur 815 ha (8000 avant la Révolution) dont 93 ha de jardins. Il comprend de nombreux éléments dont le petit et le grand Trianon, le hameau de la Reine, le grand et le petit Canal, une ménagerie, une orangerie et la pièce d'eau des Suisses.